เพราะลูกไม่เข้าเรียน เลยต้องลงโทษ
เมื่อ 3 ปีที่แล้ว
ปัญหาการไม่ยอมเข้าเรียน ขาดแรงจูงใจในการเรียน เป็นปัญหาคลาสสิคที่เจอได้บ ่อยในเด็กๆทุกยุคทุกสมัย อาจมีบางบริบทที่เปลี่ยนแปล งไปตามสถานการณ์ เช่น ในช่วงนี้ที่เด็กๆ ต้องเรียนออนไลน์ ปัญหาไม่เข้าเรียน ขาดแรงจูงใจในการเรียนก็ยัง มีอยู่ ซ้ำยังจะมากขึ้นกว่าตอนไปเร ียนที่โรงเรียนตามปกติอีกด้ วย จนพ่อแม่ไม่รู้จะจัดการกับพ ฤติกรรมนี้อย่างไร
.
พ่อแม่บางท่านอาจเข้าใจว่าว ิธีการจัดการเมื่อลูกไม่เรียน คือการลงโทษ แต่นี่เป็นหนึ่งในความเข้าใ จที่ผิดค่ะ รู้ไหมคะ ว่าการจับคู่การเรียนกับเทค นิคเชิงลบอย่างการลงโทษ กลับจะยิ่งส่งผลเสียต่อเด็ก มากกว่าผลดี โดยเฉพาะการลงโทษแบบรุนแรงไ ม่ว่าจะทางคำพูดหรือทางการก ระทำ สิ่งเหล่านี้จะทำให้เด็กๆ มีทัศนคติแง่ลบต่อการเรียน เพราะเชื่อว่าการเรียนเป็นศ ัตรูที่ทำให้พ่อแม่ลงโทษเขา ทำให้พ่อแม่โกรธ ต่อว่า และผิดหวังในตัวเขา เด็กจะยิ่งเกลียดการเรียน และทำให้ปัญหาไม่ยอมเข้าเรี ยนยิ่งแก้ไขได้ยากขึ้นไปอีก ค่ะ
.
แล้วถ้าลูกขาดเรียนบ่อยๆ พ่อแม่ควรจัดการอย่างไรดี
.
ทำไมถึงไม่เข้าเรียน
อันดับแรก คือการหาสาเหตุของการขาดเรี ยนและทำความเข้าใจค่ะ
พฤติกรรมการขาดเรียนเป็นเพี ยงยอดภูเขาน้ำแข็งเท่านั้น ข้างใต้ภูเขาที่ซ่อนอยู่ คือสาเหตุเบื้องหลังการขาดเ รียน ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละ คน
เช่น เด็กปกติที่เบื่อหน่ายการเร ียน อาจเกิดจากความสามารถของเด็ กที่เรียนไม่ทันเพื่อน การถูกตำหนิหรือนำไปเปรียบเ ทียบกับเพื่อนบ่อยๆ จนเด็กไม่อยากเรียน
.
หรือเด็กบางกลุ่มอาจมีโรคทา งจิตเวชที่มีผลต่อการเรียนร ู้ เช่น โรคสมาธิสั้น (ADHD) โรคบกพร่องทางการเรียนรู้ (SLD) เมื่อต้องไปเรียนรวมกับกลุ่ มเด็กปกติ ก็เรียนไม่ทัน ซึ่งเด็กกลุ่มนี้มักเป็นกลุ ่มที่ถูกลงโทษจากปัญหาการเร ียนได้บ่อย จนส่งผลให้เด็กรู้สึกเสียคุ ณค่าในตนเอง (self-esteem) และยิ่งต่อต้านการเรียนยิ่ง ขึ้นอีก
.
เมื่อทราบสาเหตุแล้ว ปัญหาแต่ละอย่างจะต้องมีการ แก้ไขที่จำเพาะให้ตรงจุด โดยเฉพาะหากสาเหตุเกิดจากโร คทางจิตเวช ควรพาลูกไปปรึกษาจิตแพทย์เด ็กและวัยรุ่นค่ะ
.
เรียนจบแล้วจะได้รางวัลนะ
รางวัล คำชมเชย หรือแรงจูงใจ เป็นการนำวิธีจากเทคนิคเชิง บวกมาสร้างแรงจูงใจในการเรี ยนให้กับเด็ก เมื่อทำได้ตามข้อตกลงก็จะได ้รางวัล (Reward) หรือหากทำได้ดีก็จะได้รับคำ ชมเชย
.
แล้วรางวัลที่ดีควรเป็นอย่างไร
คำตอบนี้ไม่มีตายตัว โดยทั่วไป รางวัลสร้างขึ้นมาจากแรงจูง ใจ มันจึงเป็นสิ่งที่เฉพาะตน รางวัลควรเป็นของที่ทำให้เด ็กมีความสุข สนุก พอใจ เลือกได้เอง เเละอยู่ในขอบข่ายของการเกิ ดขึ้นจริงได้ รางวัลที่เหมาะสมจะเสริมสร้ างแรงจูงใจจากภายในตัวเด็กใ ห้เพิ่มขึ้น ซึ่งแรงจูงใจนี้เอง แม้จะเริ่มขึ้นอย่างเล็กน้อ ย แต่ก็ที่เป็นสิ่งสำคัญแรกสุ ดที่จะกระตุ้นให้เด็กหันไปส นใจการเรียนได้ค่ะ
.
แต่ถ้ายังไม่เรียนอีกก็จะมีบทลงโทษแล้วนะ
แม้จะพูดถึงในตอนต้นบทความว ่าการเรียนและการลงโทษไม่คว รจับมาอยู่คู่กัน เพราะมันจะทำให้เกิดผลเสียอ ย่างรุนแรงต่อตัวเด็กได้ และทำให้เด็กเกลียดการเรียน ไปเลย
.
แต่ที่จริง เทคนิคการลงโทษสามารถนำมาใช ้ได้บ้าง โดยควรเป็นตัวเลือกการปรับพ ฤติกรรมอันดับท้ายๆ ที่จะดึงมาใช้ อีกทั้งยังต้องทำด้วยความระ มัดระวัง มีระดับการลงโทษที่เหมาะสม มีจุดประสงค์เพียงเพื่อนฝึก วินัยเด็กเท่านั้น แต่จะไม่ใช้บทลงโทษรุนแรงจน เด็กเกลียดการเรียน สิ่งสำคัญสองประเด็นในการลง โทษ คือ การทำข้อตกลง และการอธิบายให้เด็กเข้าใจเ มื่อถูกลงโทษ
.
ทำข้อตกลง เช่น “ถ้าหนูไม่เข้าเรียนเกิน 4 ครั้ง หนูจะถูกลงโทษ” เป็นการเตือนเด็กถึงพฤติกรร มที่เด็กไม่ควรทำ
เมื่อเด็กถูกลงโทษ ก็ต้องอธิบายให้เด็กเข้าใจ ว่าทำไมถึงถูกลงโทษในครั้งน ี้
.
อาจเริ่มจากการถามลูกว่า คิดว่าที่ต้องถูกลงโทษวันนี ้เพราะอะไร เปิดโอกาสให้ลูกได้พูดในมุม มองของตนเอง อธิบายเหตุผลในมุมมองของพ่อ แม่
ย้ำเตือนลูกถึงข้อตกลง “เราตกลงกันไว้ว่าถ้าขาดเรี ยนเกิน 4 ครั้งจะถูกลงโทษ หนูจำได้ไหม”
.
การลงโทษเด็กเป็นเทคนิคเชิง ลบ การนำมาปรับใช้จึงควรปรับใช ้อย่างระมัดระวัง การลงโทษควรเป็นสิ่งที่หนัก มากพอที่จะให้การลงโทษของเร าสัมฤทธิ์ผล แต่ก็ไม่ควรหนักเกินไปจนทำร ้ายเด็กจนเกิดบาดแผล ไม่ว่าจะทางกายหรือทางใจ
.
คุณพ่อคุณแม่ท่านใดที่กำลัง ประสบปัญหาลูกขาดแรงจูงใจใน การเรียน สามารถเข้ามาเรียนรู้วิธีจั ดการพฤติกรรมลูกเบื้องต้นได ้จากกรณีศึกษาของครอบครัวลิซ่า ในคอรส์เร่งรัด Net-PAMA และเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยว กับการให้รางวัลและการลงโทษ ได้ที่คอร์สจัดเต็ม
.
เรียบเรียงโดย นศพ.รินรดา คงพิบูลย์กิจ
ตรวจทานโดย ปันณ์นภัส ธนอริยาไพศาล (นักจิตวิทยา)
ภาพถ่ายโดย Monstera จาก Pexels
.
พ่อแม่บางท่านอาจเข้าใจว่าว
.
แล้วถ้าลูกขาดเรียนบ่อยๆ พ่อแม่ควรจัดการอย่างไรดี
.
ทำไมถึงไม่เข้าเรียน
อันดับแรก คือการหาสาเหตุของการขาดเรี
พฤติกรรมการขาดเรียนเป็นเพี
เช่น เด็กปกติที่เบื่อหน่ายการเร
.
หรือเด็กบางกลุ่มอาจมีโรคทา
.
เมื่อทราบสาเหตุแล้ว ปัญหาแต่ละอย่างจะต้องมีการ
.
เรียนจบแล้วจะได้รางวัลนะ
รางวัล คำชมเชย หรือแรงจูงใจ เป็นการนำวิธีจากเทคนิคเชิง
.
แล้วรางวัลที่ดีควรเป็นอย่างไร
คำตอบนี้ไม่มีตายตัว โดยทั่วไป รางวัลสร้างขึ้นมาจากแรงจูง
.
แต่ถ้ายังไม่เรียนอีกก็จะมีบทลงโทษแล้วนะ
แม้จะพูดถึงในตอนต้นบทความว
.
แต่ที่จริง เทคนิคการลงโทษสามารถนำมาใช
.
ทำข้อตกลง เช่น “ถ้าหนูไม่เข้าเรียนเกิน 4 ครั้ง หนูจะถูกลงโทษ” เป็นการเตือนเด็กถึงพฤติกรร
เมื่อเด็กถูกลงโทษ ก็ต้องอธิบายให้เด็กเข้าใจ ว่าทำไมถึงถูกลงโทษในครั้งน
.
อาจเริ่มจากการถามลูกว่า คิดว่าที่ต้องถูกลงโทษวันนี
ย้ำเตือนลูกถึงข้อตกลง “เราตกลงกันไว้ว่าถ้าขาดเรี
.
การลงโทษเด็กเป็นเทคนิคเชิง
.
คุณพ่อคุณแม่ท่านใดที่กำลัง
.
เรียบเรียงโดย นศพ.รินรดา คงพิบูลย์กิจ
ตรวจทานโดย ปันณ์นภัส ธนอริยาไพศาล (นักจิตวิทยา)
ภาพถ่ายโดย Monstera จาก Pexels
เน็ตป๊าม้า ขอแนะนำหลักสูตรออนไลน์ สอนเทคนิคเชิงบวกในการปรับพฤติกรรมเด็ก
คอร์สเร่งรัด
เหมาะสำหรับผู้ปกครองที่มีพื้นฐานการปรับพฤติกรรมเด็กเชิงบวกอยู่แล้ว
แต่ต้องการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมเด็กที่เฉพาะเจาะจงมากขึ้น
คอร์สจัดเต็ม
เหมาะสำหรับผู้ปกครองที่ต้องการเรียนรู้และฝึกใช้เทคนิคการปรับพฤติกรรมเด็ก
อย่างเป็นขั้นบันได เพื่อเตรียมพร้อมที่จะนำไปรับมือกับปัญหาพฤติกรรมเด็ก
อย่างมั่นใจ